วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

1.ThaiLis
 
http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=14234&query=%CD%E0%C1%C3%D4%A1%D2&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2555-05-10&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=2&maxid=379

2.SpingerLink

1.  วิชุดา กิจธรธรรม.  (2555).  เหตุและผลของพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิต/นักศึกษา
              ไทย.  วารสารอุทยานแห่งชาติ, 18(1), 1-16.
                       
2.  สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ.  (2545).  ความสัมพันธ์ระหว่างโปรตุเกสและราชอณาจักรอยุธยา.  วาสาร
                 ยุโรปศึกษา,  10(1), 69-105.

วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน หรือฟิชชันและฟิวชันรวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน
อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดระเบิดทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถืแกำเนิดขึ้น
มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488 วัตถุประเภทจุดระเบิดยูเรเนียม (uranium gun-type) ชื่อรหัสว่า "ลิตเติลบอย" ถูกจุดระเบิดเหนือนครฮิโรชิมาของญี่ปุ่น อีกสามวันให้หลัง วันที่ 9 สิงหาคม วัตถุประเภทจุดระเบิดภายในพลูโตเนียม (plutonium implosion-type) ชื่อรหัสว่า "แฟตแมน" ระเบิดเหนือนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกส่งผลให้ชาวญี่ปุ่นเสียชีวิตไปประมาณ 200,000 ศพ ส่วนใหญ่เป็นพลเรือน จากการบาดเจ็บฉับพลันที่ได้รับจากการระเบิด
นับแต่การทิ้งระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ อาวุธนิวเคลียร์ถูกจุดระเบิดกว่าสองพันโอกาสเพื่อจุดประสงค์ด้านการทดสอบและสาธิต มีเพียงไม่กี่ชาติที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์หรือถูกสงสัยว่ากำลังแสวงหาอาวุธนิวเคลียร์ ประเทศที่ทราบว่าเคยจุดระเบิดอาวุธนิวเคลียร์ และได้รับการรับรองว่าครอบครองอาวุธนิวเคีลยร์ คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต (รัสเซียเป็นผู้สืบทอดอำนาจนิวเคลียร์) สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย ปากีสถาน และเกาหลีเหนือ นอกเหนือจากนี้ อิสราเอลยังถูกเชื่ออย่างกว้างขวางว่าครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ แต่ไม่ได้รับการรับรองว่ามี รัฐหนึ่ง แอฟริกาใต้ เคยยอมรับว่ามีอาวุธนิวเคลียร์ที่ทำขึ้นก่อนหน้านี้ในอดีต แต่นับแต่นั้นได้แยกประกอบคลังแสงของตนและส่งให้กับผู้คุ้มครองนานาชาติ
สหพันธ์นักวิทยาศาสตร์อเมริกาประเมินว่ามีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 20,500 หัวทั่วโลกใน พ.ศ. 2554 โดยมีราว 4,800 หัวถูกเก็บไว้ในสถานะ "ปฏิบัติการ" คือ พร้อมใช้งานได้ทันที

บรรณานุกรม
วิกิพีเดีย.  (2555).อาวุธนิวเคลียร์.  ค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2555, จาก
ในการอำลานี้
ไม่มีการนองเลือด
ไม่มีการอ้างหลักฐานที่อยู่
เพราะผมเหนื่อยล้า
จากความจริง
ของพันคำลวง
ฉะนั้น ให้ความปราณี
ได้ช่วยลบเลือน

สิ่งที่ผมได้ทำ
ผมจะเผชิญหน้ากับตัวเอง
เพื่อก้าวข้าม
สิ่งที่ผมเป็น
ลบตัวเอง
และไปจากสิ่งที่ผมเคยทำ

เข้าสู่การหยุดนิ่ง
สิ่งที่คุณคิดถึงผม
ตอนที่ผมเก็บกวาดชนวนนี้
ด้วยสองมือ
ที่รู้สึกไม่มั่นคง
ฉะนั้น ให้ความปราณี
ได้ช่วยลบเลือน

สิ่งที่ผมได้ทำ
ผมจะเผชิญหน้ากับตัวเอง
เพื่อก้าวข้าม
สิ่งที่ผมเป็น
ลบตัวเอง
และไปจากสิ่งที่ผมเคยทำ

เพื่อสิ่งที่ผมได้ทำ
ผมจะเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง
และไม่ว่าจะเกิดอะไร
มันจะสิ้นสุดลงภายในวันนี้
ผมยกโทษให้

สิ่งที่ผมได้ทำ

ผมจะเผชิญหน้ากับตัวเอง
เพื่อก้าวข้าม
สิ่งที่ผมเป็น
ลบตัวเอง
และไปจากสิ่งที่ผมเคยทำ
สิ่งที่ผมทำ

ยกโทษให้...
สิ่งที่ผมทำ

วันจันทร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2555

                                                                วอชิงตัน ดี ซี
                                                               Washington D.C.

โครงเรื่อง

1.บทนำ
       1.1 ประวัติของเมือง
       1.2 ประวัติของผู้ก่อตั้ง
       1.3 ธงประจำเมือง
       1.4 คำขวัญประจำเมือง
2.ลักษณะภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ
       2.1 ภูมิศาสตร์
       2.2 ภูมิอากาศ
3.รูปแบบการปกครอง
4.การศึกษา
5.การคมนาคม
6.ประชากร
7.เศรษฐกิจ
8.วัฒนธรรม
       8.1 แหล่งประวัติศาสตร์
       8.2 ศิลปะ
       8.3 กีฬา
       8.4 สื่อ
9.สถาปัตยกรรมของเมือง

วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2555